10. สรุป
สวัสดีทุกคน คิดว่าตอนนี้ทุกคนน่าจะสอบเสร็จกันหมดแล้ว รายงาน เปเปอร์อะไรทั้งหลายก็น่าจะส่งกัน
เกือบหมดแล้ว รวมถึงตัวเราด้วย ใช่ เราสอบเสร็จแล้ว ส่งงาน(เกือบ)หมดแล้ว!!!
จะมีก็แต่การอัพบล็อคครั้งสุดท้าย ใช่แล้ว บล็อคนี้เป็นครั้งสุดท้ายแล้ว ใจหายเหมือนกันนะ
ทั้ง ๆ ที่ตอนแรกที่รู้ว่าต้องเขียนบล็อค ก็รู้สึกเหนื่อยและท้อมาก แบบไม่ใช่แนวเลย
ไม่ถนัดเขียนอะไรที่มีสาระให้คนมาอ่านเลย ไม่รู้จะเริ่มจากไหนดีตอนเขียนครั้งแรก งง ไปหมด
จริง ๆ ครั้งสุดท้ายนี้ก็ยังงง ๆ อยู่ดี ว่าที่เขียนมาเรียกว่า "ดี" ได้ไหม
แต่ยอมรับว่าไม่เสียใจที่ลงวิชานี้เลย แม้ว่าการบ้านจะหนัก แต่สิ่งที่ได้มาก็คุ้มค่ามาก
สักวันหนึ่งก็คงจะคิดถึงการเขียนบล็อคมากแน่ ๆ เห้อ พูดแล้วใจหาย
แต่ในเมื่อมันจบแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ มาเข้าเรื่องวันนี้กันเลยดีกว่า
วันนี้จะมาประเมินพัฒนาการของตัวเองว่าวันแรกที่เรียนวิชานี้และวันนี้วันสุดท้ายของการส่งบล็อค
ตัวเราเองมีพัฒนาการด้านใดเพิ่มขึ้นบ้าง โดยจะขอแยกออกเป็น 2 ส่วน
ส่วนที่ 1 เกี่ยวกับเป้าหมายหรือ目標ที่ตั้งไว้ในตอนแรก
ส่วนที่ 2 เป็นพัฒนาการด้านต่าง ๆ
ส่วนที่ 1
มาเริ่มที่ส่วนแรกกันก่อนเลย เป้าหมายที่ตั้งไว้ตอนแรก คือ อยากเรียนภาษาถิ่น 尾張弁
ยอมรับว่า เป็นเป้าหมายที่ตั้งมานานมากแล้ว แบบเคยไปอยู่แถวนั้น แล้วชอบมาก แบบกลับไปตลอด
อาจเพราะประสบการณ์ในประเทศนี้ครั้งแรกของเราเกิดขึ้นที่นี่ก็เป็นได้ เลยรู้สึกว่าที่นี้เป็นสถานที่พิเศษ
ก็เลยมีการตามอ่านเรื่องราวเกี่ยวกับที่นี่ตลอด ลงทุนซื้อหนังสือการ์ตูนเกี่ยวกับที่นี้มาอ่านเลยนะ555555
แนะนำมาก ๆ เลยสำหรับใครที่ชอบเมือง名古屋 เนื้อหามันเล่าเรื่องทุกอย่างของจังหวัดนี้ แบบทุกอย่าง
หลัก ๆ ก็เน้นไปที่เมือง名古屋 อะแหละ แต่ว่าก็มีพูดถึงเมืองอื่นเหมือนกัน น่าสนใจมาก ๆ มาขอยืมได้นะ
แอบกระซิบอีกว่า ผู้แต่งเรื่องนี้เป็นเพื่อนของโฮสเรา แบบตกใจมาก!!!
เหมือนว่าเค้าจะจบจากโรงเรียนเดียวกัน รุ่นเดียวกัน บังเอิญสุด ๆ เสียดายมากที่ไม่มีโอกาสขอลายเซ็น
แต่นอกจากนั้นก็ไม่ได้มีการทำอะไรเป็นพิเศษเลย อ่อ จริง ๆ ตั้งใจจะเขียนบล็อค แต่ก็ได้แค่ร่างไว้เฉย ๆ
สุดท้ายไม่กล้าลงสะงั้น มันดูติด ๆ ขัด ๆ ไงไม่รู้เลยล้มเลิกไป
ก็เลยขอสรุปความคืบหน้าของเป้าหมายที่ตั้งไว้ว่า อาจต้องเลื่อนเดดไลน์ออกไปก่อน555555555
แต่ก็มีการหาข้อมูลไว้อยู่นะ แค่ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน.....
ส่วนที่ 2
ต่อไปเป็นส่วนที่ขอพูดถึงพัฒนาการภาษาญี่ปุ่นของตัวเรา จริง ๆ แล้วเป็นคนไม่ค่อยชอบ内省ตัวเองเลย
แบบว่าค่อนข้างชอบลำเอียงเข้าข้างตัวเอง5555555 พอต้องมาเขียนจริง ๆ แบบไม่เข้าข้างตัวเองแล้ว
ก็พบจุดที่ต้องปรับปรุงเต็มไปหมด5555 ส่วนจุดที่พัฒนาขึ้นก็แหะ ๆ มาก5555555
ยังไงก็ตามเราขอแบ่งพาร์ทในส่วนนี้ออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนทักษะการเขียน และทักษะการพูด
การเขียน
ส่วนตัวรู้สึกว่าเราได้พัฒนาทักษะนี้เยอะขึ้นมาก ๆ มากแบบมากกกกก
เนื่องจากในวิชานี้เราได้เขียนเยอะมาก โอเค คงไม่เยอะเท่าวิชา JP writ ตอนปี 3 หรอกเนอะ
แต่เรากล้าพูดเลยว่า การเขียนในวิชานี้เติมเต็มส่วนที่เราไม่มีหรือยังทำได้ไม่ดีพอมาก ๆ
วิชานี้เน้นไปที่ output คือเราว่ามันสำคัญมาก ๆ เพราะการได้output ก่อนที่จะ input
ทำให้เราเห็นข้อผิดพลาดของเราก่อน มันเหมือนเป็นการย้ำเตือนตัวเราอีกทีว่าเรายังไม่ดีตรงไหน
ส่วนตัวเราชอบวิธีการ input ของอาจารย์มากด้วย อย่างในการเขียนเรื่องสั้นจากรูป
อาจารย์ก็ให้เราลองเขียนเองก่อน แล้วค่อยให้เราinput ด้วยการศึกษารูปแบบการเขียนของชาวญี่ปุ่น
แล้วเขียน Gap sheet ขึ้นมา การเขียน Gap sheet เนี่ย เราว่ามันน่าสนใจมากกกกกก
คือมันทำให้เราได้内省 หาความต่างของเราและของชาวญี่ปุ่น และนำมาแก้ไขเองก่อน
แล้วหลังจากนั้นอาจารย์ค่อยตรวจ พร้อมแก้ข้อผิดพลาดให้ หรือตอนที่เขียน空想作文
ที่อาจารย์ให้อิสระหมดเลย เขียนอะไรก็ได้ แนวไหนก็ได้ อาจารย์ให้เราใช้ความรู้ที่เคยinputให้ทั้งหมด
มาเขียนเป็นเรื่องสั้นออกมา เป็นอะไรที่สนุกมาก จริง ๆ งานนี้เหมือนอาจารย์ปูทางเนื้อหามาแต่แรกเลย
เพราะมันดูได้ใช้ความรู้ในทุกส่วนที่เรียนมาจริง ๆ เรียกได้ว่า จะเขียนเรื่องสั้นแค่ 1 หน้าเอสี่แค่นี้
แต่inputแบบมหาศาลมากกกกกกก เป็นงานที่ได้อะไรเยอะจริง ๆ เรียกได้ว่าเค้นมาทั้งสมองเลย
ข้อผิดพลาดของตัวเราที่พบเอง ก็คือ เวลาเขียนเล่าเรื่องจากภาพ เราชอบเขียนในมุมมองบุคคลที่ 1
แต่คนญี่ปุ่นมักจะเขียนในมุมมองบุคคลที่ 3 และอีกเรื่องที่พบเป็นประจำ คือ การลงท้ายประโยคด้วย
สำนวนเดียวกันทั้งเรื่องไม่ใช่เรื่องดี เช่น ลงท้ายทั้งเรื่องด้วย ~た ควรเพิ่มความหลากหลายเช่น
~ちゃった ~ていた เป็นต้น แล้วก็ยังมีเรื่องการเลือกใช้คำที่บางทีก็เลือกคำมาได้ไม่ดีพอ
จุดนี้คงยังต้องปรับปรุงและเพิ่มคลังศัพท์ต่อไป เพราะสุดท้ายแล้วถึงจะมีรูปประโยคที่สวยเป็นธรรมชาติ
แต่ถ้าไม่รู้ศัพท์มากพอก็ทำให้การบรรยายอะไรไม่เป็นธรรมชาติเท่าที่ควร
การพูด
จุดนี้ไม่ได้รู้สึกว่าพัฒนาอะไรขึ้นมากเป็นพิเศษ อาจเพราะพอเป็นการเรียนออนไลน์ที่ไม่ได้เจอใคร
ก็เลยรู้สึกว่ามันหาจังหวะพูดในช่วงเวลาเรียนได้ยากจัง จนกลายเป็นไม่อยากพูดสะงั้น
タスクที่จำได้ไม่รู้ลืม คือ อันที่ให้อ่านเรื่องเหตุผลการย้ายงานของนักวิจัยแล้วให้คุยกันในกลุ่ม
อันนั้นแบบโอ้โห แค่คุยเป็นไทยยังไม่รู้จะพูดไรเลย พอเป็นญี่ปุ่นทุกคนก็ลนไปหมด
แต่ว่าทุกคนก็พยายามแสดงจุดยืนของตัวเองออกมาโดยที่พยายามจะไม่พูดว่า そうですね
私もそう思います。賛成です。หรืออะไรทำนองนี้อย่างเดียว ทุกคนจะมีเหตุผลของตัวเองเสมอ
ความรู้ที่เราได้รับมาจากเพื่อน ๆ คือ วิธีการนำเสนอ แบบว่าถึงแม้สิ่งที่เราจะพูดออกมา
มันมีใจความสำคัญครบถ้วนสมูบรณ์ และมีความน่าสนใจยังไงก็ตาม แต่ถ้าเราไม่สามารถนำเสนอ
ออกมาให้น่าสนใจได้ ผู้ฟังก็อาจไม่ได้รับสารอย่างเต็มที่ รวมถึงขั้นตอนการลำดับเรื่องที่จะพูดก็สำคัญ
ส่วนตัวเราตอนพูดออกมารู้สึกเลยว่า เป็นการพูดที่แบบไปเรื่อยมาก แบบคิดไรออกก็พูดอะ
ไม่มีการลำดับขั้นตอนของเนื้อหาอะไรเลย เนื้อหาฟังแล้ววนมาก พอได้ฟังเพื่อนอีกคนที่ลำดับเรื่องมาดี
คือ รู้ตัวเลยว่า แบบนี้ฟังง่ายจัง ของเราพูดไรไม่รู้เรื่องเลย สงสารคนที่ต้องมาฟังมาก
ส่วนนี้คงไม่ใช่พัฒนาการด้านภาษาญี่ปุ่นโดยตรง แต่มันก็ช่วยให้เราได้เรียนรู้วิธีการพูดที่ดีได้ดีมาก
นอกจากนี้สิ่งที่เราได้รับมา คือ การลดการใช้フィラー และระมัดระวังในการใช้ あいづち
ต้องบอกก่อนว่าเราใช้あいづちเยอะมากกก มากจนติดไปใช้ในภาษาไทย จนโดนตำหนิหลายครั้ง
แบบเวลาพูดในภาษาไทย มันก็ดูเหมือนเรารบกวนผู้พูด หรือ ไม่ให้เกียรติสะงั้น แงงงงงงงงงงงง
ส่วนในภาษาญี่ปุ่นก็ควรระวังเช่นกัน あいづち เป็นเรื่องดีก็จริง แต่ถ้าใช้ไม่ถูกจังหวะ หรือมากไป
ก็มีโอกาสที่จะกลายเป็นเรื่องเสียมารยาทเหมือนในภาษาไทยก็ได้
ส่วนフィラー ก็คือ ใช่เยอะเหมือนกัน555555555 อาจจะเพราะติดมาจากที่ต้องพูด発表ทุกสัปดาห์
แล้วไม่รู้จะพูดไรก็ใส่フィラーเลย555555555 ดูไร้สาระมาก ๆ แบบไม่มีเนื้อหาไรเลย แต่กินเวลาไป
ไม่รู้กี่วิ5555555555 อันนี้ก็รู้สึกว่าถ้าพูดกับเพื่อนคงไม่เป็นไร แบบมันไม่ทางการมันคงยังไงก็ได้
แต่ถ้าพูดกับผู้ใหญ่หรือในเชิงทางการ ก็อาจต้องลดลง เพราะมันก็ค่อนข้างน่ารำคาญและทำให้เราดู
เหมือนคนไม่มีความมั่นใจด้วย ตรงจุดนี้ก็ต้องคอยระวังกันต่อไป อาจจะต้องคอยอัดเทปละลองฟังดู
สรุป
นอกจากความรู้ด้านภาษาญี่ปุ่นที่พัฒนาเพิ่มขึ้นแล้ว ยังได้ความสามารถในการถ่ายทอดสารด้วยเช่นกัน
การให้เขียนบล็อคทำให้เราตระหนักได้ถึง ความสำคัญของการนำเสนอสารต่าง ๆ
คือ ยิ่งเราสามารถนำเสนอออกมาได้ดี เข้าใจง่าย น่าสนใจมากเพียงใด มันยิ่งสะท้อนให้เห็นถึง
ความสามารถด้านภาษาของเรามากเท่านั้น เรารู้สึกเลยว่าคนที่เก่งภาษาญี่ปุ่นไม่ใช่คนที่คลังศัพท์เยอะ
หรือคนที่เก่งไวยากรณ์ หรือสำเนียงถูกต้องเพียงอย่างเดียวแล้ว แต่คือคนที่มาสามารถนำองค์ความรู้ที่มี
มานำเสนอให้น่าสนใจ และเข้าใจง่ายมากกว่า เพราะการนำเสนอที่ดีมีประสิทธิภาพจำเป็นต้องใช้
องค์ความรู้ทั้งหมดมาประกอบและหลอมรวมออกมาเป็นบทความที่น่าสนใจ 1 บทความ
เราได้เรียนรู้วิธีนำเสนอนี้จากการ input ผ่านタスクและเนื้อหาต่าง ๆ ที่เรียน รวมไปถึงจากการสังเกต
เพื่อนร่วมชั้น และ output ผ่านการได้ลองเขียนงานต่าง ๆ และบล็อคนี้
โดยรวมของวิชานี้ ขอยกนิ้วให้เป็นอีกหนึ่งวิชาที่เหนื่อยมาก ลงแรงกายลงแรงใจไปเยอะมาก
แต่สิ่งที่ได้กลับมามันก็มากจนหายเหนื่อยเลย บรรยากาศในห้องเรียนดีมากกกกกก
น้อง ๆ เพื่อน ๆ และอาจารย์ทุกคน คือเต็มที่กับวิชานี้มาก แรงไม่มีหมด ไม่มีเหนื่อยเลย ทุกคนเอนจอย
มันทำให้รู้สึกเลยว่า นี้แหละคือบรรยากาศของการเรียนรู้ที่ทุกคนตั้งใจมาแบ่งปันความรู้กัน
ดีใจมาก ๆ ที่ได้ลงวิชานี้ และตอนนี้ก็เริ่มเสียใจที่จะต้องจากกันจริง ๆ แล้ว
ขอบคุณอาจารย์ทั้ง 2 ท่าน รวมถึงเพื่อน ๆ แล้วน้อง ๆ ทุกคนมาก ๆ หวังว่าจะมีโอกาสได้เรียนแบบนี้อีก
เกือบหมดแล้ว รวมถึงตัวเราด้วย ใช่ เราสอบเสร็จแล้ว ส่งงาน(เกือบ)หมดแล้ว!!!
จะมีก็แต่การอัพบล็อคครั้งสุดท้าย ใช่แล้ว บล็อคนี้เป็นครั้งสุดท้ายแล้ว ใจหายเหมือนกันนะ
ทั้ง ๆ ที่ตอนแรกที่รู้ว่าต้องเขียนบล็อค ก็รู้สึกเหนื่อยและท้อมาก แบบไม่ใช่แนวเลย
ไม่ถนัดเขียนอะไรที่มีสาระให้คนมาอ่านเลย ไม่รู้จะเริ่มจากไหนดีตอนเขียนครั้งแรก งง ไปหมด
จริง ๆ ครั้งสุดท้ายนี้ก็ยังงง ๆ อยู่ดี ว่าที่เขียนมาเรียกว่า "ดี" ได้ไหม
แต่ยอมรับว่าไม่เสียใจที่ลงวิชานี้เลย แม้ว่าการบ้านจะหนัก แต่สิ่งที่ได้มาก็คุ้มค่ามาก
สักวันหนึ่งก็คงจะคิดถึงการเขียนบล็อคมากแน่ ๆ เห้อ พูดแล้วใจหาย
แต่ในเมื่อมันจบแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ มาเข้าเรื่องวันนี้กันเลยดีกว่า
วันนี้จะมาประเมินพัฒนาการของตัวเองว่าวันแรกที่เรียนวิชานี้และวันนี้วันสุดท้ายของการส่งบล็อค
ตัวเราเองมีพัฒนาการด้านใดเพิ่มขึ้นบ้าง โดยจะขอแยกออกเป็น 2 ส่วน
ส่วนที่ 1 เกี่ยวกับเป้าหมายหรือ目標ที่ตั้งไว้ในตอนแรก
ส่วนที่ 2 เป็นพัฒนาการด้านต่าง ๆ
ส่วนที่ 1
มาเริ่มที่ส่วนแรกกันก่อนเลย เป้าหมายที่ตั้งไว้ตอนแรก คือ อยากเรียนภาษาถิ่น 尾張弁
ยอมรับว่า เป็นเป้าหมายที่ตั้งมานานมากแล้ว แบบเคยไปอยู่แถวนั้น แล้วชอบมาก แบบกลับไปตลอด
อาจเพราะประสบการณ์ในประเทศนี้ครั้งแรกของเราเกิดขึ้นที่นี่ก็เป็นได้ เลยรู้สึกว่าที่นี้เป็นสถานที่พิเศษ
ก็เลยมีการตามอ่านเรื่องราวเกี่ยวกับที่นี่ตลอด ลงทุนซื้อหนังสือการ์ตูนเกี่ยวกับที่นี้มาอ่านเลยนะ555555
แนะนำมาก ๆ เลยสำหรับใครที่ชอบเมือง名古屋 เนื้อหามันเล่าเรื่องทุกอย่างของจังหวัดนี้ แบบทุกอย่าง
หลัก ๆ ก็เน้นไปที่เมือง名古屋 อะแหละ แต่ว่าก็มีพูดถึงเมืองอื่นเหมือนกัน น่าสนใจมาก ๆ มาขอยืมได้นะ
แอบกระซิบอีกว่า ผู้แต่งเรื่องนี้เป็นเพื่อนของโฮสเรา แบบตกใจมาก!!!
เหมือนว่าเค้าจะจบจากโรงเรียนเดียวกัน รุ่นเดียวกัน บังเอิญสุด ๆ เสียดายมากที่ไม่มีโอกาสขอลายเซ็น
แต่นอกจากนั้นก็ไม่ได้มีการทำอะไรเป็นพิเศษเลย อ่อ จริง ๆ ตั้งใจจะเขียนบล็อค แต่ก็ได้แค่ร่างไว้เฉย ๆ
สุดท้ายไม่กล้าลงสะงั้น มันดูติด ๆ ขัด ๆ ไงไม่รู้เลยล้มเลิกไป
ก็เลยขอสรุปความคืบหน้าของเป้าหมายที่ตั้งไว้ว่า อาจต้องเลื่อนเดดไลน์ออกไปก่อน555555555
แต่ก็มีการหาข้อมูลไว้อยู่นะ แค่ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน.....
ส่วนที่ 2
ต่อไปเป็นส่วนที่ขอพูดถึงพัฒนาการภาษาญี่ปุ่นของตัวเรา จริง ๆ แล้วเป็นคนไม่ค่อยชอบ内省ตัวเองเลย
แบบว่าค่อนข้างชอบลำเอียงเข้าข้างตัวเอง5555555 พอต้องมาเขียนจริง ๆ แบบไม่เข้าข้างตัวเองแล้ว
ก็พบจุดที่ต้องปรับปรุงเต็มไปหมด5555 ส่วนจุดที่พัฒนาขึ้นก็แหะ ๆ มาก5555555
ยังไงก็ตามเราขอแบ่งพาร์ทในส่วนนี้ออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนทักษะการเขียน และทักษะการพูด
การเขียน
ส่วนตัวรู้สึกว่าเราได้พัฒนาทักษะนี้เยอะขึ้นมาก ๆ มากแบบมากกกกก
เนื่องจากในวิชานี้เราได้เขียนเยอะมาก โอเค คงไม่เยอะเท่าวิชา JP writ ตอนปี 3 หรอกเนอะ
แต่เรากล้าพูดเลยว่า การเขียนในวิชานี้เติมเต็มส่วนที่เราไม่มีหรือยังทำได้ไม่ดีพอมาก ๆ
วิชานี้เน้นไปที่ output คือเราว่ามันสำคัญมาก ๆ เพราะการได้output ก่อนที่จะ input
ทำให้เราเห็นข้อผิดพลาดของเราก่อน มันเหมือนเป็นการย้ำเตือนตัวเราอีกทีว่าเรายังไม่ดีตรงไหน
ส่วนตัวเราชอบวิธีการ input ของอาจารย์มากด้วย อย่างในการเขียนเรื่องสั้นจากรูป
อาจารย์ก็ให้เราลองเขียนเองก่อน แล้วค่อยให้เราinput ด้วยการศึกษารูปแบบการเขียนของชาวญี่ปุ่น
แล้วเขียน Gap sheet ขึ้นมา การเขียน Gap sheet เนี่ย เราว่ามันน่าสนใจมากกกกกก
คือมันทำให้เราได้内省 หาความต่างของเราและของชาวญี่ปุ่น และนำมาแก้ไขเองก่อน
แล้วหลังจากนั้นอาจารย์ค่อยตรวจ พร้อมแก้ข้อผิดพลาดให้ หรือตอนที่เขียน空想作文
ที่อาจารย์ให้อิสระหมดเลย เขียนอะไรก็ได้ แนวไหนก็ได้ อาจารย์ให้เราใช้ความรู้ที่เคยinputให้ทั้งหมด
มาเขียนเป็นเรื่องสั้นออกมา เป็นอะไรที่สนุกมาก จริง ๆ งานนี้เหมือนอาจารย์ปูทางเนื้อหามาแต่แรกเลย
เพราะมันดูได้ใช้ความรู้ในทุกส่วนที่เรียนมาจริง ๆ เรียกได้ว่า จะเขียนเรื่องสั้นแค่ 1 หน้าเอสี่แค่นี้
แต่inputแบบมหาศาลมากกกกกกก เป็นงานที่ได้อะไรเยอะจริง ๆ เรียกได้ว่าเค้นมาทั้งสมองเลย
ข้อผิดพลาดของตัวเราที่พบเอง ก็คือ เวลาเขียนเล่าเรื่องจากภาพ เราชอบเขียนในมุมมองบุคคลที่ 1
แต่คนญี่ปุ่นมักจะเขียนในมุมมองบุคคลที่ 3 และอีกเรื่องที่พบเป็นประจำ คือ การลงท้ายประโยคด้วย
สำนวนเดียวกันทั้งเรื่องไม่ใช่เรื่องดี เช่น ลงท้ายทั้งเรื่องด้วย ~た ควรเพิ่มความหลากหลายเช่น
~ちゃった ~ていた เป็นต้น แล้วก็ยังมีเรื่องการเลือกใช้คำที่บางทีก็เลือกคำมาได้ไม่ดีพอ
จุดนี้คงยังต้องปรับปรุงและเพิ่มคลังศัพท์ต่อไป เพราะสุดท้ายแล้วถึงจะมีรูปประโยคที่สวยเป็นธรรมชาติ
แต่ถ้าไม่รู้ศัพท์มากพอก็ทำให้การบรรยายอะไรไม่เป็นธรรมชาติเท่าที่ควร
การพูด
จุดนี้ไม่ได้รู้สึกว่าพัฒนาอะไรขึ้นมากเป็นพิเศษ อาจเพราะพอเป็นการเรียนออนไลน์ที่ไม่ได้เจอใคร
ก็เลยรู้สึกว่ามันหาจังหวะพูดในช่วงเวลาเรียนได้ยากจัง จนกลายเป็นไม่อยากพูดสะงั้น
タスクที่จำได้ไม่รู้ลืม คือ อันที่ให้อ่านเรื่องเหตุผลการย้ายงานของนักวิจัยแล้วให้คุยกันในกลุ่ม
อันนั้นแบบโอ้โห แค่คุยเป็นไทยยังไม่รู้จะพูดไรเลย พอเป็นญี่ปุ่นทุกคนก็ลนไปหมด
แต่ว่าทุกคนก็พยายามแสดงจุดยืนของตัวเองออกมาโดยที่พยายามจะไม่พูดว่า そうですね
私もそう思います。賛成です。หรืออะไรทำนองนี้อย่างเดียว ทุกคนจะมีเหตุผลของตัวเองเสมอ
ความรู้ที่เราได้รับมาจากเพื่อน ๆ คือ วิธีการนำเสนอ แบบว่าถึงแม้สิ่งที่เราจะพูดออกมา
มันมีใจความสำคัญครบถ้วนสมูบรณ์ และมีความน่าสนใจยังไงก็ตาม แต่ถ้าเราไม่สามารถนำเสนอ
ออกมาให้น่าสนใจได้ ผู้ฟังก็อาจไม่ได้รับสารอย่างเต็มที่ รวมถึงขั้นตอนการลำดับเรื่องที่จะพูดก็สำคัญ
ส่วนตัวเราตอนพูดออกมารู้สึกเลยว่า เป็นการพูดที่แบบไปเรื่อยมาก แบบคิดไรออกก็พูดอะ
ไม่มีการลำดับขั้นตอนของเนื้อหาอะไรเลย เนื้อหาฟังแล้ววนมาก พอได้ฟังเพื่อนอีกคนที่ลำดับเรื่องมาดี
คือ รู้ตัวเลยว่า แบบนี้ฟังง่ายจัง ของเราพูดไรไม่รู้เรื่องเลย สงสารคนที่ต้องมาฟังมาก
ส่วนนี้คงไม่ใช่พัฒนาการด้านภาษาญี่ปุ่นโดยตรง แต่มันก็ช่วยให้เราได้เรียนรู้วิธีการพูดที่ดีได้ดีมาก
นอกจากนี้สิ่งที่เราได้รับมา คือ การลดการใช้フィラー และระมัดระวังในการใช้ あいづち
ต้องบอกก่อนว่าเราใช้あいづちเยอะมากกก มากจนติดไปใช้ในภาษาไทย จนโดนตำหนิหลายครั้ง
แบบเวลาพูดในภาษาไทย มันก็ดูเหมือนเรารบกวนผู้พูด หรือ ไม่ให้เกียรติสะงั้น แงงงงงงงงงงงง
ส่วนในภาษาญี่ปุ่นก็ควรระวังเช่นกัน あいづち เป็นเรื่องดีก็จริง แต่ถ้าใช้ไม่ถูกจังหวะ หรือมากไป
ก็มีโอกาสที่จะกลายเป็นเรื่องเสียมารยาทเหมือนในภาษาไทยก็ได้
ส่วนフィラー ก็คือ ใช่เยอะเหมือนกัน555555555 อาจจะเพราะติดมาจากที่ต้องพูด発表ทุกสัปดาห์
แล้วไม่รู้จะพูดไรก็ใส่フィラーเลย555555555 ดูไร้สาระมาก ๆ แบบไม่มีเนื้อหาไรเลย แต่กินเวลาไป
ไม่รู้กี่วิ5555555555 อันนี้ก็รู้สึกว่าถ้าพูดกับเพื่อนคงไม่เป็นไร แบบมันไม่ทางการมันคงยังไงก็ได้
แต่ถ้าพูดกับผู้ใหญ่หรือในเชิงทางการ ก็อาจต้องลดลง เพราะมันก็ค่อนข้างน่ารำคาญและทำให้เราดู
เหมือนคนไม่มีความมั่นใจด้วย ตรงจุดนี้ก็ต้องคอยระวังกันต่อไป อาจจะต้องคอยอัดเทปละลองฟังดู
สรุป
นอกจากความรู้ด้านภาษาญี่ปุ่นที่พัฒนาเพิ่มขึ้นแล้ว ยังได้ความสามารถในการถ่ายทอดสารด้วยเช่นกัน
การให้เขียนบล็อคทำให้เราตระหนักได้ถึง ความสำคัญของการนำเสนอสารต่าง ๆ
คือ ยิ่งเราสามารถนำเสนอออกมาได้ดี เข้าใจง่าย น่าสนใจมากเพียงใด มันยิ่งสะท้อนให้เห็นถึง
ความสามารถด้านภาษาของเรามากเท่านั้น เรารู้สึกเลยว่าคนที่เก่งภาษาญี่ปุ่นไม่ใช่คนที่คลังศัพท์เยอะ
หรือคนที่เก่งไวยากรณ์ หรือสำเนียงถูกต้องเพียงอย่างเดียวแล้ว แต่คือคนที่มาสามารถนำองค์ความรู้ที่มี
มานำเสนอให้น่าสนใจ และเข้าใจง่ายมากกว่า เพราะการนำเสนอที่ดีมีประสิทธิภาพจำเป็นต้องใช้
องค์ความรู้ทั้งหมดมาประกอบและหลอมรวมออกมาเป็นบทความที่น่าสนใจ 1 บทความ
เราได้เรียนรู้วิธีนำเสนอนี้จากการ input ผ่านタスクและเนื้อหาต่าง ๆ ที่เรียน รวมไปถึงจากการสังเกต
เพื่อนร่วมชั้น และ output ผ่านการได้ลองเขียนงานต่าง ๆ และบล็อคนี้
โดยรวมของวิชานี้ ขอยกนิ้วให้เป็นอีกหนึ่งวิชาที่เหนื่อยมาก ลงแรงกายลงแรงใจไปเยอะมาก
แต่สิ่งที่ได้กลับมามันก็มากจนหายเหนื่อยเลย บรรยากาศในห้องเรียนดีมากกกกกก
น้อง ๆ เพื่อน ๆ และอาจารย์ทุกคน คือเต็มที่กับวิชานี้มาก แรงไม่มีหมด ไม่มีเหนื่อยเลย ทุกคนเอนจอย
มันทำให้รู้สึกเลยว่า นี้แหละคือบรรยากาศของการเรียนรู้ที่ทุกคนตั้งใจมาแบ่งปันความรู้กัน
ดีใจมาก ๆ ที่ได้ลงวิชานี้ และตอนนี้ก็เริ่มเสียใจที่จะต้องจากกันจริง ๆ แล้ว
ขอบคุณอาจารย์ทั้ง 2 ท่าน รวมถึงเพื่อน ๆ แล้วน้อง ๆ ทุกคนมาก ๆ หวังว่าจะมีโอกาสได้เรียนแบบนี้อีก
เคยเห็นวีดิโอในยูทูปเหมือนกัน แต่น่าสนใจว่าทำไมถึงส่วนใหญ่มี สอง หรือ สี่พยางค์ ทั้ง ๆ ที่สัตว์มันก็ร้องไปเรื่อย ๆ ไม่ได้ร้องสองพยางค์ซะหน่อย 5555 ขนาดไก่ภาษาไทยยังร้องสี่พยางเลย เอ้กอีเอ้กเอ้กกก
ตอบลบจาก ไก่
ขอบคุณมากที่อยู่ด้วยกันจนถึงสุดท้ายค่า พอจะสังเกตได้ว่าอาจจะไม่ใช่คนชอบเขียน blog นัก แต่ก็พยายามหาเรื่องมาเขียนได้เยอะทีเดียว และทุกเรื่องก็น่าสนใจมากนะคะ (สังเกตว่าชอบแนวทางเสียง ไหมคะ) เสียดาย อยากอ่านเรื่องเกี่ยวกับ 尾張弁 เพราะไม่รู้จักเท่าไหร่เลยค่ะ ไว้โอกาสหน้านะคะ กลุ่มพี่ๆ มีพื้นภาษาดีมาก และมีไอเดียที่ต่างจากน้อง (อาจจะเพราะเคยไปญี่ปุ่นมา) ทำให้ช่วยสร้างแรงบันดาลใจ ให้มุมมองใหม่ๆให้น้องๆ ช่วยสร้างแรงกระตุ้นให้น้องอยากเก่งเหมือนพี่ ช่วยเป็นตัวอย่างที่ดี (พี่แต่งทุกเรื่องเก่งมากๆ ยกนิ้วให้) และคนที่เป็นคนช่วยรวบรวมความคิดของกลุ่มพี่ๆให้ครูก็คือเจ้าของ blog นี้นั่นเอง! ขอบคุณมากๆนะคะ
ตอบลบ